WarHighways พิมพ์ว่า: |
คงมีเพื่อนๆอีกเป็นจำนวนไม่น้อย ที่ยัง ไม่ทราบเกี่ยวกับค่า K (degrees kelvin = K = only Colour)
ซึ่งหมายถึงค่าอุณหภูมิสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง โดยนำค่านั้นไปผูกติดกับค่าความสว่าง (Lumen=Brightness) ที่มากน้อยแตกต่าง โดยเชื่อกันไปเองแบบผิดๆว่า ยิ่งมี ค่า K สูงมาก ก็ยิ่งสว่าง(Brightness) มาก ซึ่งนั่นเป็นความคิดที่ผิดทั้งหมด ในความเป็นจริงแล้ว ค่าอุณหภูมิสี ที่มีหน่วยเป็นองศา K นั้น เป็นเพียง หน่วยที่แยกสีสันต่างๆออกจากกันเท่านั้น ว่าสี ต่างๆที่อยู่ในโทนร้อน โทนเย็น นั้นมีค่าองศา K เท่าไร เช่นแสงแดดตอนกลางวัน ก็จะอยู่ในช่วง 5000 กว่าๆ ไปจนถึง 6500 องสา K ซึ่งเป็นแสงสีขาวแบบในเวลากลางวัน ส่วนแสงทังสเตนหลอดไฟใส้ที่เราใช้กันนั้นก็จะมีสีออกเหลืองๆ ส้มๆ และมี K ต่ำๆ ส่วนความสว่างนั้น ไม่เกี่ยวกัน ตามรูปที่นำมาแสดง |
WarHighways พิมพ์ว่า: |
คงมีเพื่อนๆอีกเป็นจำนวนไม่น้อย ที่ยัง ไม่ทราบเกี่ยวกับค่า K (degrees kelvin = K = only Colour)
ซึ่งหมายถึงค่าอุณหภูมิสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง โดยนำค่านั้นไปผูกติดกับค่าความสว่าง (Lumen=Brightness) ที่มากน้อยแตกต่าง โดยเชื่อกันไปเองแบบผิดๆว่า ยิ่งมี ค่า K สูงมาก ก็ยิ่งสว่าง(Brightness) มาก ซึ่งนั่นเป็นความคิดที่ผิดทั้งหมด ในความเป็นจริงแล้ว ค่าอุณหภูมิสี ที่มีหน่วยเป็นองศา K นั้น เป็นเพียง หน่วยที่แยกสีสันต่างๆออกจากกันเท่านั้น ว่าสี ต่างๆที่อยู่ในโทนร้อน โทนเย็น นั้นมีค่าองศา K เท่าไร เช่นแสงแดดตอนกลางวัน ก็จะอยู่ในช่วง 5000 กว่าๆ ไปจนถึง 6500 องสา K ซึ่งเป็นแสงสีขาวแบบในเวลากลางวัน ส่วนแสงทังสเตนหลอดไฟใส้ที่เราใช้กันนั้นก็จะมีสีออกเหลืองๆ ส้มๆ และมี K ต่ำๆ ส่วนความสว่างนั้น ไม่เกี่ยวกัน ตามรูปที่นำมาแสดง |
WarHighways พิมพ์ว่า: |
คงมีเพื่อนๆอีกเป็นจำนวนไม่น้อย ที่ยัง ไม่ทราบเกี่ยวกับค่า K (degrees kelvin = K = only Colour)
ซึ่งหมายถึงค่าอุณหภูมิสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง โดยนำค่านั้นไปผูกติดกับค่าความสว่าง (Lumen=Brightness) ที่มากน้อยแตกต่าง โดยเชื่อกันไปเองแบบผิดๆว่า ยิ่งมี ค่า K สูงมาก ก็ยิ่งสว่าง(Brightness) มาก ซึ่งนั่นเป็นความคิดที่ผิดทั้งหมด ในความเป็นจริงแล้ว ค่าอุณหภูมิสี ที่มีหน่วยเป็นองศา K นั้น เป็นเพียง หน่วยที่แยกสีสันต่างๆออกจากกันเท่านั้น ว่าสี ต่างๆที่อยู่ในโทนร้อน โทนเย็น นั้นมีค่าองศา K เท่าไร เช่นแสงแดดตอนกลางวัน ก็จะอยู่ในช่วง 5000 กว่าๆ ไปจนถึง 6500 องสา K ซึ่งเป็นแสงสีขาวแบบในเวลากลางวัน ส่วนแสงทังสเตนหลอดไฟใส้ที่เราใช้กันนั้นก็จะมีสีออกเหลืองๆ ส้มๆ และมี K ต่ำๆ ส่วนความสว่างนั้น ไม่เกี่ยวกัน ตามรูปที่นำมาแสดง |
Tanadath พิมพ์ว่า: |
แล้วสรุปว่าจาใส่กี่ K ดีที่สว่างแต่ไม่ถูกจับ ![]() |
rattanan1977 พิมพ์ว่า: | ||
![]() |
WarHighways พิมพ์ว่า: |
คงมีเพื่อนๆอีกเป็นจำนวนไม่น้อย ที่ยัง ไม่ทราบเกี่ยวกับค่า K (degrees kelvin = K = only Colour)
ซึ่งหมายถึงค่าอุณหภูมิสี ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง โดยนำค่านั้นไปผูกติดกับค่าความสว่าง (Lumen=Brightness) ที่มากน้อยแตกต่าง โดยเชื่อกันไปเองแบบผิดๆว่า ยิ่งมี ค่า K สูงมาก ก็ยิ่งสว่าง(Brightness) มาก ซึ่งนั่นเป็นความคิดที่ผิดทั้งหมด ในความเป็นจริงแล้ว ค่าอุณหภูมิสี ที่มีหน่วยเป็นองศา K นั้น เป็นเพียง หน่วยที่แยกสีสันต่างๆออกจากกันเท่านั้น ว่าสี ต่างๆที่อยู่ในโทนร้อน โทนเย็น นั้นมีค่าองศา K เท่าไร เช่นแสงแดดตอนกลางวัน ก็จะอยู่ในช่วง 5000 กว่าๆ ไปจนถึง 6500 องสา K ซึ่งเป็นแสงสีขาวแบบในเวลากลางวัน ส่วนแสงทังสเตนหลอดไฟใส้ที่เราใช้กันนั้นก็จะมีสีออกเหลืองๆ ส้มๆ และมี K ต่ำๆ ส่วนความสว่างนั้น ไม่เกี่ยวกัน ตามรูปที่นำมาแสดง |
rattanan1977 พิมพ์ว่า: | ||
![]() |
ไปที่: |